ปวดหลังแบบไหนอันตราย ควรไปพบแพทย์

 เชื่อว่าหลาย ๆ ท่าน อาจจะเคยมีอาการปวดหลัง ซึ่ง ปวดหลังแบบไหนอันตราย ที่สมควรไปพบแพทย์ เพราะอาการเหล่านี้ มักมาจากท่านนั่งทำงานนาน ๆ จนอาจจะเป็นอตรายถึงขั้นอัมพาตได้เลยนะ 

ปวดหลังแบบไหนอันตราย มาเช็กกันก่อนว่าควรไปพบแพทย์ไหม

อาการปวดหลัง ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้กับทุก ๆ คน ซึ่งบางคนปวดมาก บางคนปวดน้อย อาจมีอาการเป็นวัน หรือบางคนอาจมีอาการเป็นเดือน 

เช่น ปวดจากการทำงานหนัก ที่มีสาเหตุจากกล้ามเนื้อ มักเกิดจากการทำท่าทางซ้ำ ๆ ในท่าเดิม ๆ อย่างเล่น สล็อตออนไลน์ เป็นเวลาติดต่อกันนาน ๆ โดยทั่วไปแล้ว เป็นอาการปวดหลังที่ไม่อันตราย ส่วนใหญ่จะดีขึ้นหลังจากพัก และไม่กระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน 

แต่อาการปวดที่รุนแรง หรือมีอาการนานเป็นเดือน และส่งผลกระทบ ในการใช้ชีวิตประจำวัน มักจะมาจากสาเหตุที่อันตราย และรุนแรง การปวดหลังลักษณะนี้ต้องรีบปรึกษาแพทย์ เพื่อรีบหาสาเหตุและรักษาอย่างถูกต้อง

ปวดหลังแบบไหนอันตราย

อาการปวดหลังมีกี่แบบ

อาการปวดหลัง แบ่งออกได้เป็น 3 แบบ ตามระยะเวลาคือ

  1. ปวดแบบเฉียบพลัน (acute) คือ มีอาการปวดต่อเนื่อง น้อยกว่า 6 สัปดาห์
  2. ปวดแบบกึ่งเฉียบพลัน (subacute) คือ มีอาการปวดหลังต่อเนื่อง 6 ถึง 12 สัปดาห์
  3. ปวดแบบเรื้อรัง (chronic) คือ มีอาการปวดหลังต่อเนื่อง ที่นานกว่า 12 สัปดาห์

อาการปวดหลัง ส่วนบน

อาการปวดหลังส่วนบน มักเกิดร่วมกับอาการปวดคอ ซึ่งส่วนใหญ่ จะมีสาเหตุจากการใช้ท่าทางที่ไม่เหมาะสมระหว่างวันเช่น การนั่งทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือการก้มเล่นมือถือเป็นเวลานาน ๆ ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคออฟฟิศ ซินโดรม 

อาการปวดหลังส่วนบนนี้ อาจพบได้ในโรคของกล้ามเนื้อ หมอนรองกระดูกคอ หรือข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอ ที่จะทำให้เกิดอาการปวดคอร่วมกับอาการปวดหลังส่วนบน

ปวดหลังแบบไหนอันตราย หลังส่วนบน

อาการปวดหลังช่วงเอว หรืออาการปวดหลังส่วนล่าง

การปวดหลังระดับเอว หรือปวดหลังส่วนล่าง (low back pain) เป็นอาการปวดที่พบบ่อยที่สุดของโรคทางออร์โธปิดิกส์ หรือโรคทางกระดูก และข้อ

สาเหตุเกิดจาก 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ก็คือ จากกล้ามเนื้อหลัง หมอนรองกระดูกสันหลัง และจากข้อต่อกระดูกสันหลัง ซึ่งจะมีอาการปวดหลังบริเวณเอว ที่ต่ำกว่าขอบของซี่โครงซี่ล่างสุด จนถึงบริเวณสะโพก และก้น มีอาการมากขึ้น หรือลดลง สัมพันธ์กับท่าทางการเคลื่อนไหว หรือการทำงาน หรืออาจปวดตลอดเวลา โดยที่ไม่สัมพันธ์กับท่าทาง บางท่านอาจมีอาการปวดกลางคืนมาก จนนอนหลับไม่ได้ ทั้งนี้ขึ้นกับพยาธิสภาพของโรคนั้น ๆ

ปวดหลังแบบไหนอันตราย หลังส่วนล่าง

อาการปวดหลังด้านซ้าย หรือด้านขวา

อาการปวดหลังด้านซ้าย หรือด้านขวา มักมีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหลังผิดปกติ ข้อต่อกระดูกส่วนอก หรือกระดูกซี่โครงอ่อนอักเสบ การเกิดอุบัติเหตุ การกระแทก การเกร็ง หรือยกของหนัก  และสาเหตุอื่น ๆ เช่น แน่นหน้าอก จากสาเหตุทางโรคหัวใจ หลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องอก  กรดไหลย้อน เยื่อหุ้มปอดอักเสบ โรคไต นิ่วในไต หรือจากปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ จึงแนะนำให้ปรึกษาแพทย์ เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง

ปวดหลังแบบไหนอันตราย หลังส่วนกลาง

อาการปวดหลังแบบไหน ที่ควรรีบไปพบแพทย์

อาการปวดหลัง ที่ควรรีบพบแพทย์ ได้แก่อาการปวดหลังที่เป็นอยู่นาน และส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งส่วนใหญ่ มักมีอาการดังต่อไปนี้

  • ปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง นานมากกว่า 3 เดือน 
  • มีอาการปวดที่รุนแรง พักหรือรับประทานยาแก้ปวดพื้นฐานแล้วยังไม่ดีขึ้น จนไม่สามารถทำงาน หรือใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างปกติ
  • ปวดร้าวลงมาถึงต้นขา ขา หรือ ลงไปถึงปลายเท้า ข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้าง
  • มีความรู้สึกที่ผิดปกติ เช่น ชาขา เท้า หรือมีอาการแสบร้อน มีอาการขาอ่อนแรง
  • ไม่สามารถนั่ง หรือยืนเดินนานได้ ร่วมกับปวดร้าวลงที่ขา

อาการเหล่านี้ มักจะมีสาเหตุมาจาก หมอนรองกระดูกสันหลัง หรือข้อต่อกระดูกสันหลัง หรือโพรงประสาทหลัง เบียด หรือกดทับรากประสาทที่ลงมาขา จึงควรรีบพบแพทย์ เพื่อรับการรักษาโดยด่วน อีกหนึ่งอาการของโรคของกระดูกสันหลัง ที่สามารถพบได้บ่อยในผู้สูงอายุคือ โรคโพรงประสาทหลังตีบแคบ

โรคโพรงประสาทหลังตีบแคบ ที่สามารถพบบ่อยในผู้สูงอายุ

โรคโพรงประสาทหลังตีบแคบ (spinal stenosis) เป็นโรคที่สามารถพบบ่อย ในผู้ที่มีอายุมาก เกิดจากความเสื่อมของข้อต่อกระดูกสันหลัง ทำให้โพรงประสาทแคบลง จนไปเบียดรากประสาท หรือเบียดไขสันหลัง ซึ่งพบบ่อยมากที่ข้อกระดูกสันหลังระดับเอว

อาการของโรคโพรงประสาทหลังตีบแคบ

ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดหลังส่วนล่าง ร้าวลงมาสะโพก มีอาการร้าวลงมาที่ขาข้างหนึ่ง หรือสองข้าง บางครั้งมีอาการปวดร้าวลงไปถึงปลายเท้า อาการจะเป็นมากขึ้นขณะยืน หรือเดินเป็นระยะเวลานาน บางครั้งมีอาการชา หรือขาอ่อนแรงร่วมด้วย ต้องก้มตัว นั่งพัก บางคนต้องนั่งยอง ๆ เพื่อให้อาการดีขึ้น จนสามารถยืน และเดินต่อไปได้ อาการมักค่อยเป็นค่อยไป จนมากขึ้น จนทำให้ไม่สามารถยืน หรือเดินนานได้

การรักษาโรคโพรงประสาทหลังตีบแคบ

เนื่องจากโรคนี้ ส่วนใหญ่เกิดจากความเสื่อมตามอายุ หรือการใช้งานข้อต่อกระดูกสันหลังมากเป็นเวลานาน การลดการใช้งาน หรือหลีกเลี่ยงท่าทาง ที่ไปกระตุ้นให้เกิดอาการ เช่น งดการยืน เดินเป็นเวลานาน ทำการฟื้นฟู และกายภาพบำบัด เพื่อลดอาการปวด ปรับท่าทางการใช้งานหลังให้ถูกต้อง และเสริมสร้างกล้ามเนื้อที่สำคัญ ร่วมกับรับประทานยาบางชนิดเป็นระยะเวลาหนึ่ง ตามคำแนะนำของแพทย์ จะทำให้อาการหายไปได้

อย่างไรก็ตาม หากมีอาการขาอ่อนแรง มากจนเดิน ยืนไม่ได้ อาการปวดรุนแรงไม่ดีขึ้น จากการทานยา มีความไม่มั่นคงของข้อต่อหลัง หรือมีอาการผิดปกติในการขับถ่าย เช่น กลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ตลอดจนไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ แนะนำให้รีบพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ  เพื่อทำการรักษาด้วยการผ่าตัด

โพรงประสาทหลังตีบแคบ


เราทุกคนคงเคยมีอาการปวดหลัง จึงอาจคิดว่า การปวดหลังเป็นเรื่องปกติ และหายเองได้ บางท่านใช้วิธีทานยาแก้ปวด เพื่อให้อาการดีขึ้น แต่หากมีอาการปวดที่ผิดแปลกไป อาจเป็นสัญญาณเตือนถึงความผิดปกติ หรือโรคต่าง ๆ ดังนั้นจำเป็นต้องรีบพบแพทย์เพื่อวินิจฉัย และรักษาอย่างถูกต้อง ซึ่งทางแอดมินก็ได้เป็นห่วงสมาชิก สำหรับท่านที่เล่น เดิมพันออนไลน์ เป็นเวลานาน ๆ อยากจะให้หาเวลาพักร่างกาย พักสายตากันบ้าง เมื่อร่างกายพร้อมแล้ว ค่อยกลับมาล่ารางวัลแจ็กพอตกันต่อไป

queenfishing